4.2 การบันทึกงานในโปรแกรม
4.3 การแทรกข้อความ Type
4.4 การแทรกภาพ
4.1 การสร้างชิ้นงาน
1.
ไปที่
Application menu เลือก
File > New จะปรากฎหน้าต่างดังรูปด่านล่าง
2.
จากรูปมีการกำหนดค่าต่างๆมากมาย
- ช่อง Name
คือการกำหนดชื่อของชิ้นงาน
- ช่อง Preset
คือ ชนิดของงานต่างๆ ที่กำหนดไว้ให้แล้ว มีให้เลือกมากมาย เช่น Web
, Photo ,U.S.paper , international paper
- ช่อง size
จะสัมพันธ์กับช่อง Preset คือ
ขนาดของงานแต่ละชนิด เช่น ค่า Preset เป็น International
paper ช่อง Size ก็จะมีตัวเลือก คือ A4
, A3 , A2 ,A1 และอื่นๆ
- ช่อง width
คือขนาดความกว้างของชิ้นงาน หากต้องการกำหนดเอง มีหน่วนให้เลือก 7
ชนิด
- ช่อง Hight
คือขนาดความสูงของชิ้นงาน
- ช่อง Resolution
คือ ความละเอียดของงาน มีหน่วยเป็น Pixelต่อนิ้ว
และ Pixel ต่อเซนติเมตร
- ช่อง Color
mode คือชนิดของพื้นที่สีในการทำงาน มีให้เลือกหลากหลาย เช่น RGB
, CMYK และมีค่าความละเอียดให้เลือกเป็น bit
- ช่อง Background
Contents คือเลือกชนิดของ พื้นหลังงาน มี 3 แบบ
คือ แบบขาว แบบสี และแบบโปร่งใส
3.
เมื่อทำการกำหนดขนาดของงานเสร็จเรียบร้อยแล้ว ให้คลิปปุ่ม OK เพื่อทำการเปิดพื้นที่การทำงานดังตัวอย่างภาพ
เปิดพื้นที่งานขนาด A4 พื้นหลัง สีขาว
4.2 การบันทึกงานในโปรแกรม
- สมมุติว่า เราได้แต่งรูป พระทราย
ดังตัวอย่างภาพด้านล่าง เสร็จเรียบร้อยแล้ว เราต้องการบันทึกการทำงาน
ทำตามขั้นตอนดังต่อไปนี้
- ไปที่
File > Save as จะปรากฎหน้าต่างดังรูปด้านล่าง
- ช่อง File
name คือให้เราตั้งชื่องาน
- ช่อง Format
คือ การบันทึกไฟล์งานประเภทต่าง ๆ เช่น PSD , JPEG , TIFF และอื่นๆ
- เมื่อเลือกเสร็จเรียบร้อยแล้ว กด Save ก็จะทำการบันทึกสำเร็จ
4.3
การแทรกข้อความ
Type
การใส่ข้อความในชิ้นงาน
Photoshop
CC สามารถพิมพ์ตัวอักษรหรือข้อความยาว ๆ ลงบนภาพได้
รวมทั้งกำหนดคุณสมบัติต่าง ๆ ได้คล้ายกับโปรแกรม Microsoft Wordเช่น ฟอนต์ (Font) ขนาดและสีตัวอักษร
ระยะห่างระหว่างบรรทัด วิธีจัด ข้อความในย่อหน้า และอื่น ๆ ตัวอักษร (Type) จัดเป็นภาพประเภทเวคเตอร์แบบหนึ่ง ดังนั้น จึงย่อ
หรือขยายให้มีขนาดเท่าไรก็ได้ โดยที่ยังคมชัดเหมือนเดิม นอกจากนี้
ยังสามารถเปลี่ยนตัวอักษร เป็นรูปทรง และเส้นพาธเพื่อนำไปดัดแปลง รูปร่าง
และเปลี่ยนเป็นภาพราสเตอร์ เพื่อปรับแต่งด้วยเครื่องมือระบายสี
และเครื่องมือปรับสี หรือแสงเงา ต่าง ๆ ได้
กลุ่มเครื่องมือ Type
Horizontal
Type คือ ใช้พิมพ์ข้อความแนวนอน
Vertical
Type คือ ใช้พิมพ์ข้อความแนวตั้ง
Horizontal
Type Mask คือ ใช้สร้าง Selection เป็นรูปข้อความในแนวนอน
Vertical
Type Mask คือ ใช้สร้าง Selection เป็นรูปแบบข้อความในแนวตั้ง
แถบสีแดง คือ ส่วนที่ใช้เปิดเครื่องมือ Preset Pigger
แถบสีส้ม คือ การเปลี่ยนรูปแบบตัวอักษร
แถบสีเขียว คือ ลักษณะของตัวอักษร เช่น ตัวหนา ตัวเอียง
ขีดเส้นใต้ และแบบปกติ
แถบสีเหลือง คือ ขนาดของตัวอักษรที่จะให้ปรากฏ
แถบสีฟ้า คือ ปรับรูปทรงของตัวหนังสือ
แถบสีม่วง คือ การจัดตำแหน่งข้อความบนชิ้นงาน
แถบสีน้ำตาล คือ การกำหนดสีของตัวอักษร
แถบสีชมพู คือ การปรับความโค้งมนของข้อความ
แถบสีเขียวอ่อน คือ การปรับค่า Toggle ตัวอักษร
แบบละเอียด
แถบสีเทา คือ การยกเลิก และนำไปใช้ ของการตั้งค่าข้างต้นทั้งหมด
แถบสีน้ำเงิน คือ รูปแบบอักษร 3 มิติ
ส่วน Option
Type เพิ่มเติมที่เรียกว่า Toggle จะประกอบด้วย 2 ส่วน คือ
1.ส่วนของ Character
2.ส่วนของ Paragraph
ส่วนที่ 2 ส่วนของ Paragraph
เมื่อนักเรียนได้เรียนรู้ส่วนประกอบของเครื่องมือ Type หรือตัวอักษร ต่อมานักเรียนจะได้รู้วิธีการใส่ตัวอักษร หรือข้อความ บนชิ้นงานของนักเรียน
ส่วนที่
1 ส่วนของ Charecter
ส่วนที่ 2 ส่วนของ Paragraph
เมื่อนักเรียนได้เรียนรู้ส่วนประกอบของเครื่องมือ Type หรือตัวอักษร ต่อมานักเรียนจะได้รู้วิธีการใส่ตัวอักษร หรือข้อความ บนชิ้นงานของนักเรียน
1.
สร้างชิ้นงาน Project ขึ้นมาใหม่โดยให้ตั้งชื่อ Project ว่า Type ดังภาพ
2. จะปรากฏหน้าต่างออกแบบชิ้นงาน
คลิ๊กเครื่องมือ “Type”
จากนั้นให้พิมพ์ข้อความลงบนหน้าต่างออกแบบ
เมื่อพิมพ์ข้อความเสร็จแล้วนั้น ให้ปรับแต่ง ข้อความ โดยไปที่ ส่วนของ Option
Bar ดังภาพด้านล่าง ให้นักเรียนสังเกตทางด้านขวามือจะเห็นว่ามีเลเยอร์ปรากฏเพิ่มขึ้นมา
เลเยอร์นั้นคือ เลเยอร์ข้อความนั้นเอง
3. ถ้านักเรียนต้องการจะกลับมาแก้ไขส่วนของข้อความ
นักเรียนจะต้องมาคลิ๊ก เลือกที่เลเยอร์ข้อความนั้นก่อนแล้วถึงจะสามารถแก้ไขได้
4. เสร็จขั้นตอนการใส่ข้อความ
4.4 การแทรกภาพ
วิธีที่ 1 การแทรกแบบใช้คำสั่ง Open
วิธีที่ 1 การแทรกแบบใช้คำสั่ง Open
4.
เมื่อนักเรียนนำภาพเข้ามาในโปรแกรมเรียบร้อยแล้ว
ให้นักเรียนสังเกตแถบสีแดง นั้น คือ แถบชื่อของภาพที่นักเรียนนำเข้ามา
6. จากนั้นให้นักเรียน เลือก
เครื่องมือที่เรียกว่า Move แล้วคลิ๊กที่ภาพลากมาไว้ในส่วนของชิ้นงานนักเรียน
7.
เมื่อลากเข้ามาแล้ว
ให้นักเรียนปรับขนาดของภาพ โดย กด Ctrl + T เพื่อใช้คำสั่ง Free
Transform ปรับขนาดที่นักเรียนต้องการ
8.
เสร็จวิธีการแทรกรูปภาพเข้าไปในชิ้นงาน
วิธีที่ 2 การลากไฟล์ภาพเข้ามาใส่ในโปรแกรม
1. ให้นักเรียนเปิด โฟล์เดอร์ที่เก็บรูปภาพที่นักเรียนต้องการ
จากนั้นก็คลิ๊ก ภาพ ลากเข้ามาใส่ในชิ้นงานภายในโปรแกรม Photoshop ได้เลย ดังตัวอย่างภาพด้านล่าง
2. เมื่อนำภาพเข้ามาแล้ว
ให้นักเรียนปรับขนาดภาพ ตามต้องการ ถ้านักเรียนต้องการที่ ย่อ
ขยายภาพให้ยังคงความสมดุลของภาพ ก็ให้กด ปุ่ม Shift ไปด้วย
ขณะที่ทำการย่อภาพ เมื่อปรับแต่งเสร็จแล้ว ให้นักเรียน กดปุ่ม Enter กรอบที่ล้อมรูปภาพก็จะหายไป
3.
เสร็จขั้นตอนการแทรกรูปภาพในวิธีที่ 2
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น